My Journal Week5-August 7, 2011.
การเรียนรู้
การเรียนรู้
1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ project ที่ส่งอาจารย์ อภิปรายเรื่อง การทำแผนภูมิต้นไม้เพิ่มเติม
2. การทำStory board
- กรคัดเลือกเนื้อหา
- การจัดวาง lay out
- Power point à ใช้มาทำ story board เพื่อให้เห็นภาพของงาน
à ปรับจากการ present ที่มีแต่หัวข้อ แต่มีรายละเอียดเพิ่มเติม
วิเคราะห์ Project
- ทรัพยากรเรียนรู้ (Learning Resources) เป็นสื่อทางการเรียน /แหล่งข้อมูลต่าง ๆ
- Hypermedia = Multimedia ที่อยู่บน online มีหลายสื่อรวมอยู่บนComputer
- Hyperlink เหมือน Navigation หรือเข็มทิศเดินเรือ เป็นทิศทางในการหาข้อมูลบน online ซึ่งมีข้อมูลมหาศาล เป็นการ design ทิศทางให้ผู้เรียน
concept คือ ตอบสนองการเรียนรู้ของแต่ละคน ( individualism)
Power point
- การเชื่อมโยง slide ไปยังหน้าอื่น ๆ
เลือกแทรก à เลือกการกระทำàเชื่อมโยงหลายมิติไปที่ à ภาพนิ่ง à ภาพที่ 2 à ตกลง (ขึ้นกรอบใหม่) เน้นเมื่อคลิก à ตกลง
- การออกแบบปุ่ม à fix ตำแหน่งเดิม สร้างมาตรฐานเดียวกันตลอดแนว เพื่อให้ผู้ใช้เกิด
habit ในการใช้ได้เร็ว
ข้อคิดที่ได้รับ
1. การจะทำงานต่าง ๆ ต้องวิเคราะห์งานให้ชัดเจน มองภาพของงานให้ออกและแยกประเด็นสำคัญ พร้อมจัดกลุ่ม และจัดลำดับการทำงาน
2. อาจารย์เน้นให้แนวคิดว่าเราควรรู้จักทรัพยากรเรียนรู้ต่างๆ ให้หลากหลาย เพื่อจะได้เลือกใช้เป็น ถึงแม้จะไม่ได้เก่งหรือเชี่ยวชาญ แต่ก็สามารถเลือกหรือแนะนำการใช้ให้ผู้อื่นได้
3. ได้ข้อเรียนรู้ใหม่ในการใช้ Power Point คือการเชื่อมโยง Slide หน้าต่าง ๆ ไปหากัน ซึ่งเป็น option ใหม่ ที่ยังไม่เคยเรียนรู้
4. ได้รับแนวคิดในการพัฒนาหลังสูตรสถานศึกษาจากการแลกเปลี่ยนการทำ project ซึ่งเดิมรับรู้มาว่าแต่ละโรงเรียนควรพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นของตน แต่อาจารย์ได้อธิบายเพิ่มว่า หลักสูตรต้องมีที่อยู่ ไม่ใช่ทำขึ้นมาแทนไว้เฉย ๆ โดยอาจทำเป็นหลักสูตรบูรณาการ หรือให้เข้าไปอยู่ในรายวิชาหนึ่ง ซึ่งเป็นความรู้ใหม่ ทำให้ต้องใช้การเชื่อมโยงความคิด ตามหลักทฤษฎี construction
ความรู้เดิม + ความรู้ใหม่ (assimilate+ accommodation) = องค์ความรู้ใหม่
อยากจะชี้แจงอาจารย์ว่าขณะที่อาจารย์ถามและบางครั้งตอบช้าเป็นเพราะพวกเรากำลังซึมซับ และปรับแต่งข้อมูลอยู่ค่ะ เพราะประสบการณ์เดิมกับความรู้ใหม่ ต่างกัน บางครั้งอาจจะไม่ทันอาจารย์ แต่พยายามสร้างองค์ความรู้อยู่ค่ะ จะได้เกิดความยั่งยืน
5. อาจารย์พูดถึง learning style 4 แบบ ทำให้นึกถึง Experiential Learning
รูปธรรม
แบบประยุกต์ : นักกิจกรรม แบบอเนกนัย : นักวิเคราะห์
แบบเอกนัย : นักปฏิบัติ แบบซีมซับ : นักทฤษฎี
Converging style Assimilating style
นามธรรม
การออกแบบสื่อการเรียนรู้ และการสอน จึงควรคำนึงถึง Learning style ของ ผู้เรียนที่แตกต่างกันด้วย การสอนจึงจะบรรลุผลตามเป้าหมายของหลักสูตร